1. การใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงานทดแทนอุปกรณ์แบบดั้งเดิม
มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ดมีอาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีไฟฟ้าซึ่งใช้ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับระบบไฟฟ้าแสงสว่างซึ่ง จากข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าแสงสว่างของอาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีไฟฟ้าทำให้ทราบข้อมูลดังนี้
ค่าการพลังงานไฟฟ้า/วัน = 36.8 kWh
ค่าการพลังงานไฟฟ้า/เดือน = 1,104 kWh
ค่าการพลังงานไฟฟ้า/ปี = 13,248 kWh
คิดเป็นเงินที่ต้องจ่ายค่าไฟฟ้า/วัน = 36.8×3.4328 = 126 บาท
คิดเป็นเงินที่ต้องจ่ายค่าไฟฟ้า/เดือน = 36.8×3.4328×30 = 3,789.8112 บาท
คิดเป็นเงินที่ต้องจ่ายค่าไฟฟ้า/ปี = 36.8×3.4328×30×12 = 45,477.7344บาท
จากข้อมูลการการวิเคราะห์ความสามารถในการจ่ายพลังงานไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์
ค่าการจ่ายพลังงานไฟฟ้า/วัน = 20.16 kWh
ค่าการจ่ายพลังงานไฟฟ้า/เดือน = 604.8 kWh
ค่าการจ่ายพลังงานไฟฟ้า/ปี = 7,257.6 kWh
คิดเป็นเงินค่าไฟฟ้า/วัน = 20.16×3.4328 = 69.21 บาท
คิดเป็นเงินค่าไฟฟ้า/เดือน = 20.16×3.4328×30 = 2,076.16 บาท
คิดเป็นเงินค่าไฟฟ้า/ปี = 20.16×3.4328×30×12 = 24,913.89 บาท
จากข้อมูลการวิเคราะห์ข้างต้นทำให้ทราบว่าเมื่อมีการติดตั้งระบบโซล่าร์เซลล์กับระบบไฟฟ้าแสงสว่างทำให้สามารถลดค่าพลังงานไฟฟ้าในระบบไฟฟ้าแสงสว่างลง คิดเป็น 54.78 % ของการใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบไฟฟ้าแสงสว่างทั้งหมด
การติดตั้งระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับระบบไฟฟ้าแสงสว่างสำหรับอาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีไฟฟ้า
2. โครงการปลูกต้นไม้ เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับมหาวิทยาลัยและช่วยลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์
3. อาคารโรงเรียนสาธิมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ดเป็นอาคารที่ได้รับรางวัลแบบอาคารประหยัดพลังงาน